Rational Laboratory Use, RLU ??
การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง โดยทำการเลือกใช้ การตรวจฯ อย่างเหมาะสมกับการคัดกรอง การดูแลรักษาทางคลินิก ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ คำนึงถึงค่าใช้จ่ายและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง โดยทำการเลือกใช้ การตรวจฯ อย่างเหมาะสมกับการคัดกรอง การดูแลรักษาทางคลินิก ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ คำนึงถึงค่าใช้จ่ายและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
2 ตุลาคม 2567 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จัดสัมมนาจัดทำแนวทางตัวชี้วัด RLU ในระบบ HDC (Health Data Center) ช่วยให้ รพ. ทำงานง่ายลดภาระของผู้ปฏิบัติด้วยการประมวลผลจากข้อมูลในระบบฐานข้อมูลของ สธ.
อบรมแนวทางการทำ RLU: ตัวอย่างความสำเร็จจากโรงพยาบาล
จำนวนสมาชิก
การนำผลงาน
คำถามจาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มากเกินไปอาจนำไปสู่การสิ้นเปลืองที่ไม่จำเป็น ในขณะที่การตรวจที่ น้อยเกินไปอาจนำไปสู่การวินิจฉัยที่ผิดพลาดหรือเกิดผลเสียหายต่อการรักษาผู้ป่วย การศึกษาของต่างประเทศพบว่า มีการสั่งตรวจที่น้อยเกินไป (Underutilization) ประมาณ 45% และมีการสั่งตรวจที่มากเกินไป (Overutilization) ประมาณ 20% ดังนั้นหากนำเอา RLU มาประยุกต์ใช้ในระบบบริการสุขภาพของประเทศที่มีค่าใช้จ่ายทางห้องปฏิบัติการเฉพาะในส่วนของกระทรวงสาธารณสุขปีละประมาณ 15,000 ล้านบาท อาจทำให้ลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ลงไม่น้อยกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี
ที่ปรึกษาภาพรวมด้านวิชาการ
ที่ปรึกษาภาพรวมด้านวิชาการ
ที่ปรึกษาภาพรวมด้านวิชาการ
ที่ปรึกษาด้านกระบวนการ
ที่ปรึกษาด้านกระบวนการ
โรงพยาบาลบุรีรัมย์
ที่ปรึกษาด้านกระบวนการ
ที่ปรึกษาด้านกระบวนการ
รวมภาพผลงานการพัฒนาการทำงาน Rational Laboratory Use, RLU
ติดต่อ/สอบถามข้อมูล E-Mail : prdmsc@dmsc.mail.go.th
สอบถามข้อมูลการตรวจวิเคราะห์ E-Mail : onestop@dmsc.mail.go.th
โทรศัพท์. 0-2589-9850 ถึง 8 ต่อ 99968 มือถือ. 098-915-6809 รับ-ส่งหนังสือราชการ E-Mail : saraban@dmsc.mail.go.th